ข้ามไปที่เนื้อหาหลัก

การจับภาพวัตถุ Object Detection ด้วย yolo 11

 การจับภาพวัตถุ Object Detection ด้วย yolo 11 

การจับภาพวัตถุ Object Detection เป็นวิธีการหนึ่งของศาสตร์ Computer Vision ในแขนงวิทยาการคอมพิวเตอร์ ปัญญาประดิษฐ์ เพื่อทำให้ Computer สามารถที่จะเรียนรู้วัตถุได้เหมือนมนุษย์ เปรียบเหมือนการสร้างดวงตาให้กับคอมพิวเตอร์ เกิดขึ้นใน ค.ศ 1950 เพื่อจัดเก็บรูปทรงต่างๆ อย่างง่ายๆ ของวัตถุ  เช่น สามเหลี่ยม สี่เหลี่ยม วงกลม โดยวิธีการหามุมและเส้นขอบของวัตถุ ต่อมาพัฒนามาเป็น OCR Optical Character Recognition สำหรับอ่านตัวอักษร ต่อได้พัฒนาเป็นการอัพโหลดรูปภาพเพื่ออ่าน วิเคราะห์ แยกแยะ จำแนก จัดกลุ่ม จนปัจจุบนสามารถที่จะทำการจับวัตถุได้แบบเรียลไทม์ 

หลักการจับภาวัตถุ Object Detection 

ส่วนใหญ่การจับวัตถุจะเป็นการวาดกรอบสีเหลี่ยมของวัตถุ และเทสีเข้าไป เพิ่อสะดวกในการนำไปใช้งานต่อไป เช่น การนับ การตรวจจับวัตถุผิดปกติ โดยการเปรียบเทียบกับข้อมูลรูปภาพที่มีอยู่ 

การนำไปใช้ประโยชน์
1. การตรวจนับสินค้า วัตถุ หรือสิ่งที่เราสนใจ อาจะเป็นคน ฝูงนก
2. ตรวจสอบสัมภาระ ก่อนหรือหลัง
3. การบรรทุกน้ำหนักเกิน 
4. การตรวจความหนาแน่นของการจารจรในพื้นที่ ช่วงวิกฤติ 
5. การตรวจโรคต่างๆ ด้วยภาพถ่าย 



การติดตั้งและใช้งาน YOLO11 ใน Colab

!pip install ultralytics supervision roboflow

from ultralytics import YOLO
from roboflow import Roboflow


การเทรนนิ่งโมเดล Tranning Model

from ultralytics import YOLO

# Load a COCO-pretrained YOLO11n model
model = YOLO("yolo11n.pt")

# Train the model on the COCO8 example dataset for 40 epochs
results = model.train(data="coco8.yaml", epochs=40, imgsz=640)



การรันนิ่งและเทส Running and Test

!yolo task=detect mode=predict model={HOME}/runs/detect/train/weights/best.pt conf=0.25 source={dataset.location}/test/images save=True



ความคิดเห็น

โพสต์ยอดนิยมจากบล็อกนี้

สำรองข้อมูลใน MySQL ด้วย mysqldump ข้อมูลใน MySQL Character-set ภาษาไทย

การ backup ฐานข้อมูลสำหรับ mysql ในบางครั้งจะเกิดปัญหาสำหรับการใช้งานภาษาไทย ที่ตัวอักษรมักจะเกิดเป็น ?????  จึงต้องทำให้มั่นใจก่อนว่า การจัดเก็บข้อมูลที่เป็นภาษไทย สมบูรณ์ จึงมีการแปลง character set ก่อน สำหรับในการแปลงฐานข้อมูลจากเดิมที่เป็น latin1 หรือ tis620 ให้เป็น utf8 มีเงื่อนไขเบื้องต้นว่า หาก character-set ของฐานข้อมูลเป็น tis620 หรือ  latin1 ต้องไม่กำหนดค่า default-character-set=utf8 ใน my.cnf (สำหรับ Linux อยู่ที่ /etc/my.cnf หรือ /etc/mysql/my.cnf)

Interactive เทคโนโลยีเชิงโต้ตอบเปลี่ยนโลกเข้าสู่ยุค Metaverse

เทคโนโลยี Interactive คืออะไร คำนิยามของ เทคโนโลยี Interactive ที่สร้างและพัฒนาขึ้นสำหรับโปรแกรมหรือแอพลิเคชั่นที่เป็น Real-Time เรียกง่ายๆว่า Real-Time Programming (RTP) โดยเน้นไปยังผู้ใช้หรือมนุษย์นั้นเอง จะประกอบไปด้วย 2 องค์ประกอบ คือ ส่วนแรก เทคโนโลยี Interactive เข้าทำการเปลี่ยนแปลรูปร่าง ขนาด และรูปแบบ ซึ่งมาจาก web service อุปกรณ์ sensor ผ่านคอมพิวเตอร์ และมือถือ เป็นผสมผสานระหว่างระบบดิจิทัลและแอนนาล๊อกเข้าด้วยกัน ผ่านปุ่ม สไลด์เดอร์ หรือสวิทซ์ เพื่อการควบคุมในส่วนควบคุมทั้งหมด ที่เรียกว่า Control panel  ส่วนที่ 2  แอพลิเคชั่นที่ทำงานแบบ Real Time Application ถูกออกแบบในแนวคิดหลักของเทคโนโลยี Real Time  อ้างอิง https://interactiveimmersive.io/blog/beginner/02-interactive-technology/ เทคโนโลยีเชิงโต้ตอบที่เน้นการสร้างต้นแบบที่เร็วขึ้น มีประโยชน์อย่างมากในแอปพลิเคชันและประสบการณ์การสร้างต้นแบบ  ประเภทของเทคโนโลยี Interactive  มี 6 ประเภท 1. IoT เป็นแนวคิดจะเปลี่ยนบริการทุกบริการให้อยู่บนเครือข่ายอินเทอร์เน็ต และสามารถเชื่อมต่อเข้ากับแอพลิเคชั่นทุกแอพลเคชั่นทั้งที่ถูกพัฒนาเอง แล