ข้ามไปที่เนื้อหาหลัก

เทคโนโลยี DOM (Document Object Model)

เทคโนโลยี DOM (Document Object Model) คืออะไร 

เทคโนโลยี DOM (Document Object Model) เป็นการเขียนโปรแกรมสำหรับแก้ไขเอกสารบนเว็บ เพื่อการนำเสนอข้อมูลหรือตัวแทนข้อมูลในรูปแบบของแนวคิดเชิงวัตถุ (Object) โดยสามารถที่จะเปลี่ยนโครงสร้างข้อมูล และเนื้อหาบนเว็บไซต์ จากต้นฉบับเอกสาร HTML (HyperText Makeup Language) เพื่อปรับเปลี่ยนเอกสารบนเว็บไซต์ในขณะแสดงบนบราวเซอร์ได้ โดยการเขียน script ด้วยภาษา Javascript เพื่อแก้ไข element ต่างๆ ของเอกสาร HTML ซึ่งโครงสร้างจะประกอบไปด้วย Method เมธอด และ Propety พรอเพอร์ตี้ ในการเขียนโปรแกรมเชิงวัตถุ

ประเภทข้อมูลของเทคโนโลยี DOM

สามารถแยกประเภทข้อมูลของเทคโนโลยี DOM ได้ดังนี้


1. document คือ วัตถุที่เรียกใช้ เอกสาร HTML โดยจะมองเอกสาร HTML ทั้งหมดแยกย่อยๆ คล้ายต้นไม้
2. Node ทุกๆวัตถุจะอยู่ในเอกสาร HTML ต้นไม้ โดยมี root คือ <HTML> และแตกกิ่งก้างสาขาไปเรื่อยๆ Node ได้แก่ <head> <body>
3. element  ส่วนประกอบย่อยของเอกสาร HTML ในส่วน head ก็จะมี element <title> และในสวน body มี element ต่างๆ ได้แก่ <a href> <p> <h1> และเรียกส่วนต่างๆ เป็น element 


DOM และ Javascript มีความเกี่ยวข้องกันอย่างไร

DOM กับ Javascript เป็นของคู่กัน ซึ่งเทคโนโลยี DOM  จะต้องเขียน script  javascript เพื่อปรับเปลี่ยนหรือแก้ไข element ต่าง ในเอกสาร HTML เพื่อให้ใช้งานตามความต้องการในการแสดงผลบนบราวเซอร์

ความคิดเห็น

โพสต์ยอดนิยมจากบล็อกนี้

Interactive เทคโนโลยีเชิงโต้ตอบเปลี่ยนโลกเข้าสู่ยุค Metaverse

เทคโนโลยี Interactive คืออะไร คำนิยามของ เทคโนโลยี Interactive ที่สร้างและพัฒนาขึ้นสำหรับโปรแกรมหรือแอพลิเคชั่นที่เป็น Real-Time เรียกง่ายๆว่า Real-Time Programming (RTP) โดยเน้นไปยังผู้ใช้หรือมนุษย์นั้นเอง จะประกอบไปด้วย 2 องค์ประกอบ คือ ส่วนแรก เทคโนโลยี Interactive เข้าทำการเปลี่ยนแปลรูปร่าง ขนาด และรูปแบบ ซึ่งมาจาก web service อุปกรณ์ sensor ผ่านคอมพิวเตอร์ และมือถือ เป็นผสมผสานระหว่างระบบดิจิทัลและแอนนาล๊อกเข้าด้วยกัน ผ่านปุ่ม สไลด์เดอร์ หรือสวิทซ์ เพื่อการควบคุมในส่วนควบคุมทั้งหมด ที่เรียกว่า Control panel  ส่วนที่ 2  แอพลิเคชั่นที่ทำงานแบบ Real Time Application ถูกออกแบบในแนวคิดหลักของเทคโนโลยี Real Time  อ้างอิง https://interactiveimmersive.io/blog/beginner/02-interactive-technology/ เทคโนโลยีเชิงโต้ตอบที่เน้นการสร้างต้นแบบที่เร็วขึ้น มีประโยชน์อย่างมากในแอปพลิเคชันและประสบการณ์การสร้างต้นแบบ  ประเภทของเทคโนโลยี Interactive  มี 6 ประเภท 1. IoT เป็นแนวคิดจะเปลี่ยนบริการทุกบริการให้อยู่บนเครือข่ายอินเทอร์เน็ต และสามารถเชื่อมต่อเข้ากับแอพลิเคชั่นทุกแอ...

Routing Protocol คืออะไร มีประโยชน์อย่างไร ทำหน้าที่อะไร

 Routing Protocol คืออะไร มีประโยชน์อย่างไร ทำหน้าที่อะไร         ในกระบวนการเชื่อมต่อระบบเครือข่ายจะมีกระบวนการหรือกฏหนึ่งที่ทำหน้าที่ในการเชื่อมต่อระบบเครือข่ายตั้งแต่ 2 ระบบขึ้นไป เพื่อให้สามารถติดต่อสื่อสารข้อมูลระหว่างกันได้ กระบวนการนี้เรียกว่า Routing Protocol            Routing Protocol  คือ Protocol มีหน้าที่สำหรับการแลกเปลี่ยนข้อมูลเส้นทางสำหรับอุปกรณ์ค้นหาเส้นทาง หรือ Router ข้อมูลที่ส่งไปเป็น routing information ระหว่างอุปกรณ์เครือข่ายต่างๆที่ทำงานในระดับ Network Layer (Layer 3) เพื่อส่งข้อมูลแพ็กเก็จจาก ผ่านตัว Router ไปยัง IP ปลายทางได้ หรือผ่าน Router ตัวไหน โดยตรวจสอบจากได้จาก routing table หรือตารางเส้นทางนั้นเอง  ประเภทของ Routing Protocol   Interior gateway Protocol  มี 2 Type คือ   Type 1  Link State Routing Protocols Open Shortest Path Frist ( OSPF) Intermediate System to Intermediate System (IS-IS) Type 2 Distance-Vector Routing Protocols Routing Information Pro...