ข้ามไปที่เนื้อหาหลัก

ติดตั้ง Dynamic IP สำหรับอัฟเดต DNS บน ubuntu ทุกเวอร์ชั่น

การใช้งาน Dynamic IP หรือ Dynamic DNS สำหรับ OpenDNS เป็นก การให้บริการ Domain Name System ฟรี สำหรับการทำอะไรหลายอย่างโดยไม่ต้องมี domain Name System แต่มีปัญหาตรงที่ว่า เมื่อ มีการปรับเปลี่ยน ไอพีของผู้ให้บริการ จึงต้องมีการอัฟเดต เพื่อส่งไปยังDNS ให้ทราบเพื่อเปลี่ยนตัวชี้ตามหมายเลขใหม่ ซึ่งจะทำให้มีค่าไม่ตรงกัน คือใช้งานไม่ได้นั้นเอง เช่นเราใช้ DNS เพื่อทำเว็บไซต์ส่วนตัว
 ก็ไม่สามารถที่จะเข้าเว็บไซต์ได้ จึงมีวิธีการอัฟเดตหมายเลขไอพีให้ตรงกัน โดยใช้ แพ็กเก็ตที่ชื่อว่า ddclient มาติดตั้งและปรับค่านิดหน่อย ก็สามารถที่จะทำให้เครื่องไปบอกอัฟเดตไอพีให้ตรงกันได้ ก็สามารถเข้ามาใช้เว็บไซต์ส่วนตัวได้
ลองมาติดตั้งกัน
1.เข้าไปสมัคร DNS โดยมีหลายที่ที่ให้บริการ เช่น Opendns, dyndns, EasyDNS, ZoneEdit,DNSPark ก็จะได้ username และ password

2.ทำการ Setup router โดยใส่ hostname ,username password

3.ติดตั้ง ddclient โดยใช้คำสั่ง :

$ sudo apt-get update
 $ sudo apt-get install ddclient 

แล้วทำการ config ค่าต่างๆ ในไฟล์ชื่อ ddclient.conf ในพาส /etc/ddclient.conf โดยแก้ไขดังนี้

# Configuration file for ddclient generated by debconf
#
# /etc/ddclient.conf
use=web, web=myip.dnsomatic.com
ssl=yes
server=updates.opendns.com
protocol=dyndns2
login=[USERID]
password=’[PASSWORD]‘
[OPENDNS_NETWORK_LABEL]

***เปลี่ยนค่าใน แท๊ป [ค่าต่างๆ] เช่น DNS ของเราที่สมัคร คือ

hostname : thailand.dyndns.org
username : thailanduser
password: thailandpass

ก็ทำการเปลี่ยนโดยแทนค่า แล้วทำการ รีสตาร์ service ด้วยคำสั่ง
 $ sudo service ddclient restart && sudo ddclient
แค่นี้เราก็สามารถใช้งาน DNS ได้อย่างสบายใจขึ้น แต่อาจจะมีปัญหาอื่นๆอีก

ความคิดเห็น

โพสต์ยอดนิยมจากบล็อกนี้

Interactive เทคโนโลยีเชิงโต้ตอบเปลี่ยนโลกเข้าสู่ยุค Metaverse

เทคโนโลยี Interactive คืออะไร คำนิยามของ เทคโนโลยี Interactive ที่สร้างและพัฒนาขึ้นสำหรับโปรแกรมหรือแอพลิเคชั่นที่เป็น Real-Time เรียกง่ายๆว่า Real-Time Programming (RTP) โดยเน้นไปยังผู้ใช้หรือมนุษย์นั้นเอง จะประกอบไปด้วย 2 องค์ประกอบ คือ ส่วนแรก เทคโนโลยี Interactive เข้าทำการเปลี่ยนแปลรูปร่าง ขนาด และรูปแบบ ซึ่งมาจาก web service อุปกรณ์ sensor ผ่านคอมพิวเตอร์ และมือถือ เป็นผสมผสานระหว่างระบบดิจิทัลและแอนนาล๊อกเข้าด้วยกัน ผ่านปุ่ม สไลด์เดอร์ หรือสวิทซ์ เพื่อการควบคุมในส่วนควบคุมทั้งหมด ที่เรียกว่า Control panel  ส่วนที่ 2  แอพลิเคชั่นที่ทำงานแบบ Real Time Application ถูกออกแบบในแนวคิดหลักของเทคโนโลยี Real Time  อ้างอิง https://interactiveimmersive.io/blog/beginner/02-interactive-technology/ เทคโนโลยีเชิงโต้ตอบที่เน้นการสร้างต้นแบบที่เร็วขึ้น มีประโยชน์อย่างมากในแอปพลิเคชันและประสบการณ์การสร้างต้นแบบ  ประเภทของเทคโนโลยี Interactive  มี 6 ประเภท 1. IoT เป็นแนวคิดจะเปลี่ยนบริการทุกบริการให้อยู่บนเครือข่ายอินเทอร์เน็ต และสามารถเชื่อมต่อเข้ากับแอพลิเคชั่นทุกแอ...

Routing Protocol คืออะไร มีประโยชน์อย่างไร ทำหน้าที่อะไร

 Routing Protocol คืออะไร มีประโยชน์อย่างไร ทำหน้าที่อะไร         ในกระบวนการเชื่อมต่อระบบเครือข่ายจะมีกระบวนการหรือกฏหนึ่งที่ทำหน้าที่ในการเชื่อมต่อระบบเครือข่ายตั้งแต่ 2 ระบบขึ้นไป เพื่อให้สามารถติดต่อสื่อสารข้อมูลระหว่างกันได้ กระบวนการนี้เรียกว่า Routing Protocol            Routing Protocol  คือ Protocol มีหน้าที่สำหรับการแลกเปลี่ยนข้อมูลเส้นทางสำหรับอุปกรณ์ค้นหาเส้นทาง หรือ Router ข้อมูลที่ส่งไปเป็น routing information ระหว่างอุปกรณ์เครือข่ายต่างๆที่ทำงานในระดับ Network Layer (Layer 3) เพื่อส่งข้อมูลแพ็กเก็จจาก ผ่านตัว Router ไปยัง IP ปลายทางได้ หรือผ่าน Router ตัวไหน โดยตรวจสอบจากได้จาก routing table หรือตารางเส้นทางนั้นเอง  ประเภทของ Routing Protocol   Interior gateway Protocol  มี 2 Type คือ   Type 1  Link State Routing Protocols Open Shortest Path Frist ( OSPF) Intermediate System to Intermediate System (IS-IS) Type 2 Distance-Vector Routing Protocols Routing Information Pro...