ข้ามไปที่เนื้อหาหลัก

เปลี่ยน Ubuntu Server เป็น GUI

การปรับแต่ง Ubuntu desktop ให้ทำหน้าที่เป็น server ได้ โดยการติดตั้งโปรแกรม (package)
ของ server ที่เราต้องการใช้งานลงไป ซึ่งจะทำให้เราได้ server ที่มีสภาพแวดล้อมเป็นแบบ GUI
แต่เนื่องจาก desktop ได้มีการติดตั้ง package ไว้จำนวนมาก เพื่อให้เหมาะกับงานทางด้าน
desktop
  อย่างไรก็ตาม หากเราไม่ต้องการ package ใดก็สามารถลบออกได้

การปรับแต่ง Ubuntu server ให้มีสภาพแวดล้อมเป็น GUI โดยเราจะต้องติดตั้ง package ที่
จะต้องใช้งานให้กับ server ด้วย

  กรณีตัวอย่างนี้เป็นการปรับแต่ง Ubuntu Server 8.10 ให้เป็น GUI Server  
ก่อนอื่นให้ทำการ update ข้อมูลของ package และ upgrade เจ้า server ของเราให้เป็นปัจจุบัน
$ sudo su
ใส่ password…
# apt-get update
# apt-get upgrade
# apt-get dist-upgrade
ติดตั้ง package สำหรับการบริหารจัดการเกี่ยวกับการ update
# apt-get install update-manager
ติดตั้ง gnome และ xorg เพื่อสร้างสภาพแวดล้อมแบบ GUI
# apt-get install gnome-core xorg
ติดตั้งภาษาไทย
# apt-get install language-pack-gnome-th-base language-pack-gnome-th language-support-th language-support-extra-th
ติดตั้ง themes สำหรับคนที่ชอบความสวยงาม
# apt-get install gnome-themes gnome-themes-extras
ติดตั้ง browser firefox
# apt-get install firefox
ติดตั้ง GUI Network Admin Tool
# apt-get install gnome-nettool gnome-network-admin gnome-system-tools
ติดตั้งเครื่องมือ Partition Management
# apt-get install gparted ntfs-3g ntfs-config libntfs*
ติดตั้งเครื่องมือ System Monitor
# apt-get install gnome-system-monitor
ติดตั้งเครื่องช่วยบริหารจัดการ MySQL Server
# apt-get install mysql-admin mysql-gui-tools-common
ติดตั้งเครื่องมือช่วยในการ backup (Simple Backup)
# apt-get install sbackup
เท่านี้เราก็จะได้ server ที่มีสภาพแวดล้อมการทำแบบ gui
การทำงานโดยทั่วไป ยังคงทำงานในแบบ text mode เหมือนๆ เดิม เมื่อใดที่เราต้องการเข้าไป
ทำงานในสภาพแวดล้อมแบบ GUI ก็ให้เรียกใช้งานด้วย คำสั่ง startx
$ startx

  • ทดสอบกับ ubuntu 11.10
  • เหมาะสำหรับผู้ที่ต้องการใช้ gnome แทน unity
 ต้องติดตั้ง gnome ก่อนด้วยคำสั่ง
sudo apt-get install gnome-session-fallback  gnome-shell
  1. เสร็จแล้วให้ logout ออกมาจากหน้า desktop  แล้วให้ login เข้าไปใหม่ โดยเลือกชนิดเป็น Gnome Classic จะได้ desktop แบบ gnome ใช้งาน
  2. ตั้งให้ auto login เข้า gnome ด้วยคำสั่ง
    sudo /usr/lib/lightdm/lightdm-set-defaults -s gnome-shell
  3. ตั้งให้ auto login เข้า unity ด้วยคำสั่ง
    sudo /usr/lib/lightdm/lightdm-set-defaults -s ubuntu

ความคิดเห็น

โพสต์ยอดนิยมจากบล็อกนี้

Interactive เทคโนโลยีเชิงโต้ตอบเปลี่ยนโลกเข้าสู่ยุค Metaverse

เทคโนโลยี Interactive คืออะไร คำนิยามของ เทคโนโลยี Interactive ที่สร้างและพัฒนาขึ้นสำหรับโปรแกรมหรือแอพลิเคชั่นที่เป็น Real-Time เรียกง่ายๆว่า Real-Time Programming (RTP) โดยเน้นไปยังผู้ใช้หรือมนุษย์นั้นเอง จะประกอบไปด้วย 2 องค์ประกอบ คือ ส่วนแรก เทคโนโลยี Interactive เข้าทำการเปลี่ยนแปลรูปร่าง ขนาด และรูปแบบ ซึ่งมาจาก web service อุปกรณ์ sensor ผ่านคอมพิวเตอร์ และมือถือ เป็นผสมผสานระหว่างระบบดิจิทัลและแอนนาล๊อกเข้าด้วยกัน ผ่านปุ่ม สไลด์เดอร์ หรือสวิทซ์ เพื่อการควบคุมในส่วนควบคุมทั้งหมด ที่เรียกว่า Control panel  ส่วนที่ 2  แอพลิเคชั่นที่ทำงานแบบ Real Time Application ถูกออกแบบในแนวคิดหลักของเทคโนโลยี Real Time  อ้างอิง https://interactiveimmersive.io/blog/beginner/02-interactive-technology/ เทคโนโลยีเชิงโต้ตอบที่เน้นการสร้างต้นแบบที่เร็วขึ้น มีประโยชน์อย่างมากในแอปพลิเคชันและประสบการณ์การสร้างต้นแบบ  ประเภทของเทคโนโลยี Interactive  มี 6 ประเภท 1. IoT เป็นแนวคิดจะเปลี่ยนบริการทุกบริการให้อยู่บนเครือข่ายอินเทอร์เน็ต และสามารถเชื่อมต่อเข้ากับแอพลิเคชั่นทุกแอ...

Routing Protocol คืออะไร มีประโยชน์อย่างไร ทำหน้าที่อะไร

 Routing Protocol คืออะไร มีประโยชน์อย่างไร ทำหน้าที่อะไร         ในกระบวนการเชื่อมต่อระบบเครือข่ายจะมีกระบวนการหรือกฏหนึ่งที่ทำหน้าที่ในการเชื่อมต่อระบบเครือข่ายตั้งแต่ 2 ระบบขึ้นไป เพื่อให้สามารถติดต่อสื่อสารข้อมูลระหว่างกันได้ กระบวนการนี้เรียกว่า Routing Protocol            Routing Protocol  คือ Protocol มีหน้าที่สำหรับการแลกเปลี่ยนข้อมูลเส้นทางสำหรับอุปกรณ์ค้นหาเส้นทาง หรือ Router ข้อมูลที่ส่งไปเป็น routing information ระหว่างอุปกรณ์เครือข่ายต่างๆที่ทำงานในระดับ Network Layer (Layer 3) เพื่อส่งข้อมูลแพ็กเก็จจาก ผ่านตัว Router ไปยัง IP ปลายทางได้ หรือผ่าน Router ตัวไหน โดยตรวจสอบจากได้จาก routing table หรือตารางเส้นทางนั้นเอง  ประเภทของ Routing Protocol   Interior gateway Protocol  มี 2 Type คือ   Type 1  Link State Routing Protocols Open Shortest Path Frist ( OSPF) Intermediate System to Intermediate System (IS-IS) Type 2 Distance-Vector Routing Protocols Routing Information Pro...