ข้ามไปที่เนื้อหาหลัก

การพัฒนาซอฟต์แวร์บริการซอร์วิส (Software Development as a Service) ซอฟต์แวร์ในยุคใหม่ๆ ต้องทำอย่างไร

 ทำไมต้องพัฒนาซอฟต์แวร์ให้รูปแบบการบริการ หรืออ เซอร์วิส (Software as a Service)

หัวข้อสำคัญสำหรับการพัฒนาซอฟต์แวร์ในยุคใหม่ เนื่องมาจากความต้องการซอฟต์แวร์ยุคใหม่ที่เน้นความต้องการในดัานต่างๆ ดังนี้ ได้แก่ คุณภาพของซอฟต์แวร์ในระดับที่สูงขึ้น เวลาในการพัฒนาน้อยลง การส่งมอบที่ต้องตรงต่อเวลา การพัฒนาซอฟต์แวร์ให้พร้อมใช้งานและตรงกับความต้องการของผู้ใช้ เป็นต้น ดังนั้นการพัฒนาซอฟต์แวร์ในยุคปัจจุบันจึงเป็นความท้าทายอย่างมากของผู้พัฒนา หรือผู้ผลิตซอฟต์แวร์  


แนวทางและหลักการพัฒนาซอฟต์แวร์ให้บริการ หรือ เซอร์วิส

การพัฒนาซอฟต์แวร์ในรูปแบบบริการหรือเซอร์วิส (Software as aService) เพื่อให้ผู้บริการซอฟต์แวร์เหล่านี้ได้เข้าใจหลักการ รูปแบบ ตั้งแต่เซอรืวิสแบบตายตัว จนถึงเซอร์วิสที่สามารถปรับแต่งได้ด้วยตนเอง 

ประโยชน์ของการพัฒนาซอฟต์แวร์ให้บริการ หรือ เซอร์วิส (Software as a Service)

  • มีความยืดหยุ่น และสามารถขยายได้ในภายหลัง
ความต้องการซอฟต์แวร์ในปัจจุบันที่ต้องการซอฟต์แวร์ให้บริการ ต้องการความรวดเร็วอย่างมาก เพื่อตอบสนองลูกค้าให้ทันเวลา จึงจำเป็นในการพัฒนาซอฟต์แวร์ให้ครบถ้วน และสามารถปรับใช้ในภายหลังได้ หรือสามารถขยายขนาดขงการให้บริการได้เพิ่มข้น

  • สามารถเข้าถึงได้ภายในองค์กร
  • ลดต้นทุนในการพัฒนา
  • รวดเร็วในการเข้าสู่ตลาด

ความคิดเห็น

โพสต์ยอดนิยมจากบล็อกนี้

Interactive เทคโนโลยีเชิงโต้ตอบเปลี่ยนโลกเข้าสู่ยุค Metaverse

เทคโนโลยี Interactive คืออะไร คำนิยามของ เทคโนโลยี Interactive ที่สร้างและพัฒนาขึ้นสำหรับโปรแกรมหรือแอพลิเคชั่นที่เป็น Real-Time เรียกง่ายๆว่า Real-Time Programming (RTP) โดยเน้นไปยังผู้ใช้หรือมนุษย์นั้นเอง จะประกอบไปด้วย 2 องค์ประกอบ คือ ส่วนแรก เทคโนโลยี Interactive เข้าทำการเปลี่ยนแปลรูปร่าง ขนาด และรูปแบบ ซึ่งมาจาก web service อุปกรณ์ sensor ผ่านคอมพิวเตอร์ และมือถือ เป็นผสมผสานระหว่างระบบดิจิทัลและแอนนาล๊อกเข้าด้วยกัน ผ่านปุ่ม สไลด์เดอร์ หรือสวิทซ์ เพื่อการควบคุมในส่วนควบคุมทั้งหมด ที่เรียกว่า Control panel  ส่วนที่ 2  แอพลิเคชั่นที่ทำงานแบบ Real Time Application ถูกออกแบบในแนวคิดหลักของเทคโนโลยี Real Time  อ้างอิง https://interactiveimmersive.io/blog/beginner/02-interactive-technology/ เทคโนโลยีเชิงโต้ตอบที่เน้นการสร้างต้นแบบที่เร็วขึ้น มีประโยชน์อย่างมากในแอปพลิเคชันและประสบการณ์การสร้างต้นแบบ  ประเภทของเทคโนโลยี Interactive  มี 6 ประเภท 1. IoT เป็นแนวคิดจะเปลี่ยนบริการทุกบริการให้อยู่บนเครือข่ายอินเทอร์เน็ต และสามารถเชื่อมต่อเข้ากับแอพลิเคชั่นทุกแอ...

Routing Protocol คืออะไร มีประโยชน์อย่างไร ทำหน้าที่อะไร

 Routing Protocol คืออะไร มีประโยชน์อย่างไร ทำหน้าที่อะไร         ในกระบวนการเชื่อมต่อระบบเครือข่ายจะมีกระบวนการหรือกฏหนึ่งที่ทำหน้าที่ในการเชื่อมต่อระบบเครือข่ายตั้งแต่ 2 ระบบขึ้นไป เพื่อให้สามารถติดต่อสื่อสารข้อมูลระหว่างกันได้ กระบวนการนี้เรียกว่า Routing Protocol            Routing Protocol  คือ Protocol มีหน้าที่สำหรับการแลกเปลี่ยนข้อมูลเส้นทางสำหรับอุปกรณ์ค้นหาเส้นทาง หรือ Router ข้อมูลที่ส่งไปเป็น routing information ระหว่างอุปกรณ์เครือข่ายต่างๆที่ทำงานในระดับ Network Layer (Layer 3) เพื่อส่งข้อมูลแพ็กเก็จจาก ผ่านตัว Router ไปยัง IP ปลายทางได้ หรือผ่าน Router ตัวไหน โดยตรวจสอบจากได้จาก routing table หรือตารางเส้นทางนั้นเอง  ประเภทของ Routing Protocol   Interior gateway Protocol  มี 2 Type คือ   Type 1  Link State Routing Protocols Open Shortest Path Frist ( OSPF) Intermediate System to Intermediate System (IS-IS) Type 2 Distance-Vector Routing Protocols Routing Information Pro...