ข้ามไปที่เนื้อหาหลัก

บทความ

กำลังแสดงโพสต์จาก มิถุนายน, 2022

สร้าง package Laravel ไว้ใช้งานเป็นของตัวเอง

 หลังจากใช้งาน Laravel framework มาสักระยะแล้ว 2-3 ปี จึงอยากพัฒนา Package เป็นของตัวเองไว้ใช้งาน  เริ่มจากขั้นตอนที่ 1 สร้าง Folder ชื่อว่า packages ใน Laravel framework อยู่ภายนอกสุด แต่ยังอยู่ใน Laravel Project นั้น ขั้นตอนที่ 2 ใช้คำสั่ง composer init เพื่อสร้าง  ขั้นตอนที่ 3 นำ Provider เข้าสู่ ps4 ใน composer หลัก ของ Project และใช้คำสั่ง composer dump-autoload ขั้นตอนที่ 4 สร้าง Provider ของเรา ด้วยคำสั่ง php artisan make:provider [ชื่อ-provider]  ขั้นตอนที่ 5  ย้ายไฟล์ Provider ที่สร้างไปไป โพลเดอร์ packages ของเรา ที่มีไฟล์ composer.json                     app/Providers/ ย้ายไป  packages/.../.../src/ ขั้นตอนที่ 6 ไปเพิ่ม Provider ในไฟล์ config/app.php  ในอาร์เรย์ ' provider' => [     .../.../[ProviderNameService]:class, ] ขั้นตอนที่ 6 เพิ่มเข้าไปใน Route ในไฟล์ Route.php ขั้นตอนที่ 7 สร้าง Controller สำหรับการใช้งาน packages ของเรา แล้วย้ายเข้าในโพล์เดอร์ src ของ packages 

การสร้างพาสแสดงรูปใน Laravel

แสดงในหน้า view ไฟล์ xxx.blade.php  <img src="url:asset(images/{{ $product-image }})" alt=> ใน Model Product     ...     $fillabel =[      ...      'image'      ]; ใน ProuductController      ... 'image' => 'required|image|mimes:jpeg,png,jpg,gif,svg|max:2048,      

วิธีการเรียกใช้ routing ใน Laravel

  ไฟล์ Routing ใน laravel จะอยู่ในพาส routes ซึ่งจะมีไฟล์ 4 ไฟล์ คือ  web.php เป็นไฟล์แรกที่ถูกเรียกและประมวลผล ดังนั้นเวลาเขียน route งานเรา จะเขียนลงในไฟล์นี้ api.php chanel.php console.php วิธีการเช็ด Routing ใช้คำสั่ง php artisan route:list ผลลัพธ์จะแสดงตาราง Routing ออกมา ส่วนหัวจะมีการเรียก Routing โดยเรียกใช้คลาส  Route ในไฟล์ชื่อ web.php <?php      use Illuminate\Support\Facades\Route; Routing แบบพื้นฐาน เวลาใช้งานจะมีรูปแบบการเรียกใช้งานอยู่ ได้แก่  Route::get เป็นการกำหนด routing แบบพื้นฐาน ตัวอย่างรูปแบบการเรียกใช้แบบส่งข้อความ               Route::get('welcome', function(){                         return 'Welcome';               }          ถ้ามีการเรียกใช้ Controller จะมีรูปแบบ ดังนี้               use App\Http\Controllers\UserController;               Route::get('/user', [UserController:::class,'index']);                หรือ               Route::get('/user', App\Http\Controllers\UserController::class);               การส่งค่าผ่านเ

พัฒนา WebRTC video and audio Broadcaster และ media devices

  WebRTC (Web Real-Time Communication)  คือ  เป็น Open Source ที่พัฒนาขึ้นเพื่อการสื่อสารระหว่างเรียวไทล์บนบราวเซอร์ ที่รองรับมาตรฐาน HTML5 javascript  ข้อดีคือไม่ต้องใช้อุปกรณ์ในการเชื่อมต่อ เพื่อให้สามารถใช้งาน และบราวเซอร์ต่างๆ ที่สนับสนุนการใช้งาน เช่น google Chrome Safari  Microsoft Edge และเกือบทุกบราวเซอร์ ให้สามารถใช้งานมัลติมีเดีย มาตรฐาน WebRTC ใช้เทคโนโลยี 2 ประเภทในระดับที่สูง คือ อุปกรณ์บันทึกและการเชี่ยมต่อแบบเพียร์ทูเพียร์ ได้แก่ กล้องและไมโครโฟน 

การติดตั้งและปรับแต่ง TURN Server ด้วย Coturn เพื่อให้บริการ Live Streaming

 บนนำ WebRTC ใช้สำหรับการโอนย้ายข้อมูลแบบ peer-to-peer  Coturn เป็นโอเพนซอร์สฟรี สำหับการนำไปใช้งานกับ STUN และTURN   ความต้องการของระบบ สำหรับการติดตั้ง  1. ทำการอัฟเดล  sudo apt-get update -y 2. ติดตั้อง Conturn sudo apt-get install coturn 3. แก้ไขไฟล์ conturn sudo nano /etc/default/coturn TURNSERVER_ENABLED=1 4. รันคำสั่ง systemctl start coturn การปรับแต่งค่าคอนฟิกูเรชั่น 1. ทำการแบ๊คอัพไฟล์  mv /etc/turnserver.conf /etc/turnserver.conf.backup #  เมื่อเกิดความผิดพลาด   mv /etc/turnserver.conf.backup /etc/turnserver.conf เปิดไฟล์ nano /etc/turnserver.conf แก้ไขไฟล์ # TURN server name and realm realm=<DOMAIN> server-name=<SERVER_NAME> เปลี่ยน ip ภายนอก  # IPs the TURN server listens to listening-ip=0.0.0.0 # External IP-Address of the TURN server external-ip=IP_ADDRESS ปรับพอร์ต # Main listening port listening-port=3478 # Further ports that are open for communication min-port=10000 max-port=20000 กำหนดเส้นทางเก็บไฟล์ log # Use fingerprint in TURN message fingerprint # L

ความแตกต่างระหว่าง DataBase กับ Blockchain คืออะไร

 ความแตกต่างระหว่าง DataBase กับ Blockchain  หนึ่งในความแตกต่างระหว่าง database กับ blockchain คือ โครงสร้างการจัดเก็บข้อมูล ภายใต้แนวคิดของ Blockchain เป็นการรวบรวมข้อมูลร่วมกันเป็นบล๊อกๆ ภายใต้สารสนเทศเดียวกัน แล้วเชื่อมโยงต่อๆ โครงข่ายกันไปเรื่อยๆ เหมือนห่วงโซ่ที่คล้องกันไปเรื่อยๆ โดยสามารถเพิ่มบล๊อกเข้าไปได้เรื่อยๆ เหมือนโครงสร้างข้อมูลแบบลิงค์ลิส มาดูรายละเอียดลึกของ Blockchain Blockchain เป็นลักษณะของฐานข้อมูลที่แบ่งปันกันซึ่งแตกต่างจากระบบฐานข้อมูลปกติที่มีการเก็บข้อมูลอย่างเดียว แต่ Blockchain จะเก็บอยู่ในรูปของ Block และเชื่อมโยงด้วยลิงค์ที่มีการเข้ารหัส เมื่อมีข้อมูลใหม่เข้ามาก็จะเป็นการสร้าง Block ใหม่ต่อจาก Blockเดิม ในทุกๆครั้งของการเปลี่ยนแปลง จะไม่มีการลบ Block เก่าทิ้งไป ดังนั้นข้อมูลก็จะต่อไปเรื่อยๆ ไม่สามารถเปลี่ยนแปลงได้ Blockchainเหมาะกับการเก็บรายการบัญชีที่ไม่สามารถแก้ไข เปลี่ยนแปลงได้ จึงมีการนำมาประยุกต์กับธุรกรรมทางการเงิน หรือระบบบัญชีที่ไม่สามารถเปลี่ยนแปลงได้ ป้องกันการปลอมแปลง ตกแต่งรายการ หรือป้องกันการโกงได้นั้นเอง Bitcoin เป็นตัวอย่างการนำ Blockchain ไปใ

สรุป Blockchain คืออะไร

  Blockchain คืออะไร คำว่า Blockchain มีนิยามว่า เป็นฐานข้อมูลแบบกระจายอย่างหนึ่ง ที่กระจายไปยังโหนด (Node) ในเครือข่ายคอมพวเตอร์ ระบบฐานข้อมูลจะเก็บ Blockchain  ซึ่งเป็น ข้อมูลอิเล็กทรอนิกส์ในรูปแบบดิจิทัล ดังนั้น Blockchain เป็นสิ่งที่ที่ถูกจัดเก็บตามกฏเกณฑ์ในระบบเหรียญ(cryptocurrency) ของ Bitcoin สำหรับความปลอดภัย และเป็นข้อมูลธุรกรรมทางการเงิน นวัตกรรมที่เกิดจาก Blockchain มีความเที่ยงตรง น่าเชื่อ และความปลอดภัย ดังนั้นข้อมูลในรูปแบบ Blockchain จึงมีความน่าเชื่อถือและเป็นที่ต้องการคนผู้ใช้งาน อาจจะกล่าวได้ว่า  Blockchain เป็นการบันทึกรายการข้อมูลที่มีความปลอดภัย ใช้เพื่อเก็บเป็นสาธารณะให้คนทั่วไปสามารถดู และสืบค้นได้  จุดประสงค์ของ Blockchain มันเป็นสารสนเทศทางดิจิทัลที่ถูกบันทึกและกระจายโดยไม่สามารถแก้ไขเปลี่ยนแปลงได้ ซึ่งเป็นพื้นฐานของระบบบัญชีที่ไม่สามารถเปลี่ยนแปลงรายการได้ กล่าวคือเป็นการบันทึกโดยไม่สามารถลบรายการได้ ซึ่งเป็นระบบอีกรูปแบบหนึ่งที่เรียกว่า DLT(Distributed ledger thechnology)  เกิดขึ้นครั้งแรกในงานวิจัยปี 1991 ได้เกิดการใช้งาน Blockchain  เป็นครั้งแรก โดยได้มีพัฒ

10 วิธีทำการตลาดออนไลน์ในยุคที่ค่ายิงแอด Ads แพง

  เมื่อค่ายิงแอดแสนแพง เราจะมีทางออกกันอย่างไรได้บ้าง 

รวมวิธีเพิ่มประสิทธิภาพของ SEO ของเว็บไซต์

รวมวิธีเพิ่มประสิทธิภาพของ SEO ของเว็บไซต์สำหรับรดันตลาดดิจิทัลให้เป็นที่รู้จัก ทำได้อย่างไร ข้อคิดในการเพิ่มประสิทธิภาพเว็บไซต์ 1. เว็บไซต์ของคุณเป็นเนื้อหาเกี่ยวกับอะไร หมายถึง เนื้อหาหรือคอนเทนต์ที่ท่านจะสื่อสารกับผู้ที่เข้ามาชมเว็บไซต์ของท่าน ซึ่งเป็นจุดประสงค์หลักในการทำเว็บไซต์ ดังนั้นจึงควรทำคอนเทนต์ที่มีคุณภาพและสร้างประโยชน์ให้กับผู้ชม และสามารถแก้ไขปัญหาที่ต้องกับความต้องการมากที่สุด 2. จะให้ผู้ชมอ่านเนื้อหาอะไร 3. เพจของคุณจะให้ใครอ่าน สำหรับการทำ SEO ในการเน้นเพิ่มประสิทธิภาพให้กับเว็บไซต์  โดยการเพิ่มลิงค์ Link หรือส่วนเชื่อมโยงไปยังส่วนต่างๆ ทั้งภายในเนื้อหาและภายนอกเนื้อหาองเว็บไซต์ การรู้จัก SEO Tag ต่างๆ มีความสำคัญ  1. Title  Tag เป็น หัวเรื่อง     SEO จะเข้ามา Tag เพื่อทำการวิเคราะห์ด้วยอัลกอริทึมที่ถูกกำหนดไว้ ดังนั้นจึงควรเขียนหัวเรื่องให้น่าสนใจ 2. Meta Description Tag 3. Heading Tags (H1-H6) 4. Image Alt Tag 5. Nofollow Attribute 6. Robot Meta Tag 7. Link Tag (rel="canonical) 8. Schema Markup 9. Social Media Meta Tag 10. Viewport Meta Tag  เป้าหมายของคุณและ

Blockchain และ Cryptocurrency เข้าใจง่ายๆ

 ปัจจุบันต้องยอมรับกันแล้วว่า เทคโนโลยีด้านดิจิทัลและด้านคอมพิวเตอร์ได้มีพัฒนาการอย่างรวดเร็ว จนสามารถพัฒนามาใช้งานในด้านต่างๆ หลายๆ ด้าน ด้านหนึ่งจะหยิบยกมาเพื่อสร้างความเข้าใจคือ เรื่องของ ระบบ Blockchain ที่เป็นที่นิยมกันมากอันเนื่องมาจากได้มีการประยุกต์เข้ามาในระบบการเงินเป็นที่เรียบร้อยแล้ว ดังนั้นจึงจำเป็นที่จะมีความรุ้ความเข้าใจว่า ระบบ Blockchain คืออะไร มีอะไรดี และสามารถนำไปใช้ประโยชน์อะไรบ้าง ด้านไหนที่ควรจะนำมาใช้งาน เพื่อให้เกิดประสิทธิภาพกับงานนั้นๆ ดังนั้นจึงขอเรียบเรียงดังต่อไปไนี้  1. Blockchain จริงๆ แล้วคืออะไร ทุกอาจจะเข้าใจว่า Blockchain คือ BitCoin หรือเหรียญคริปโต หรือเหรียญดิจิทัล ความหมายที่แท้จริงอาจจะมีน้อยคนที่เข้าใจ หรือคนที่เข้าใจอาจจะเป็นเฉพาะผู้พัฒนาหรือผู้ใช้งานเฉพาะทางหรือผู้เชี่ยวชาญเท่านั้น  Blockchain อธิบายอย่างเข้าใจง่ายๆ คือ มี 2 คำที่ประกอบกันคือ Block กับ chain ดังนั้นเริ่มต้นจากคำว่า Block ในความหมายทั่วไปคือ กรอบ หรือ กล่อง หรืออะไรที่ก้อนเป็นก้อน ส่วนคำว่า Chain คือ ส่วนที่ร้อยของสองสิ่งเข้าด้วยกัน หรือเรียกว่า การเชื่อมโยง  - คำว่า Block น่

มีอะไรใหม่ๆใน Terra 2.0 มีอะไรบ้าง

Terra 2.0 คืออะไร  Terra 2.0 ได้เปลี่ยนระบบนิเวศโครงข่าย Blockchain จาก Terra โดยมีการปรับปรุงระบบนิเวศให้มีความน่าเชื่อถือ และเพื่อการรองรับการใช้งานในอนาคตต่อไป ดังนั้น Terra 2.0 จึงเป็น BlockChain โปรโตคอล แบบ Open Source ที่มีการกระจายไปตามโครงข่ายของระบบ Blockchain ต่างๆ  เพื่อใช้และพัฒนาเพื่อสร้าง Dapp สำหรับการใช้งานเพื่อรองรับระบบนิเวศของ Terra 2.0 โดย,uใช้เทคโนโลยีที่เรียกว่า  proof-of-stake consensus and ground-breaking ทำให้สามารถพัฒนาโครงข่าย Blockchain ได้อย่างรวดเร็ว  มีการประกาศการใช้เหรียญคริปโตใหม่ภายใต้ชื่อ Luna 2. 0   เปิดตัวไปเมื่อวันที่ 27 พฤษภาคม ปี 2022   และมีการเปลี่ยนมาใช้ในระบบโครงข่าย Blockchain ใหม่คือ    phoenix-1 ซึ่งเดิมเป็น Terra station network Terra 2.0 มีข้อดีข้อเสียอะไรบ้าง  บน  Luna airdrop distribution ใหม่ มีรายละเอียด Community pool : 30% มีการควบคุมโดยส่วนกลาง และอีก 10% ให้การควบคุมกับผู้พัฒนา หรือ Developer  Pre-depeg LUNA holders airdrop : 35% Pre-depeg aUST holders airdrop : 10% Post-attack LUNA holders airdrop : 10% Post-attack UST holders