ข้ามไปที่เนื้อหาหลัก

ความแตกต่างระหว่าง DataBase กับ Blockchain คืออะไร

 ความแตกต่างระหว่าง DataBase กับ Blockchain 

หนึ่งในความแตกต่างระหว่าง database กับ blockchain คือ โครงสร้างการจัดเก็บข้อมูล ภายใต้แนวคิดของ Blockchain เป็นการรวบรวมข้อมูลร่วมกันเป็นบล๊อกๆ ภายใต้สารสนเทศเดียวกัน แล้วเชื่อมโยงต่อๆ โครงข่ายกันไปเรื่อยๆ เหมือนห่วงโซ่ที่คล้องกันไปเรื่อยๆ โดยสามารถเพิ่มบล๊อกเข้าไปได้เรื่อยๆ เหมือนโครงสร้างข้อมูลแบบลิงค์ลิส มาดูรายละเอียดลึกของ Blockchain

  • Blockchain เป็นลักษณะของฐานข้อมูลที่แบ่งปันกันซึ่งแตกต่างจากระบบฐานข้อมูลปกติที่มีการเก็บข้อมูลอย่างเดียว แต่ Blockchain จะเก็บอยู่ในรูปของ Block และเชื่อมโยงด้วยลิงค์ที่มีการเข้ารหัส
  • เมื่อมีข้อมูลใหม่เข้ามาก็จะเป็นการสร้าง Block ใหม่ต่อจาก Blockเดิม ในทุกๆครั้งของการเปลี่ยนแปลง จะไม่มีการลบ Block เก่าทิ้งไป ดังนั้นข้อมูลก็จะต่อไปเรื่อยๆ ไม่สามารถเปลี่ยนแปลงได้
  • Blockchainเหมาะกับการเก็บรายการบัญชีที่ไม่สามารถแก้ไข เปลี่ยนแปลงได้ จึงมีการนำมาประยุกต์กับธุรกรรมทางการเงิน หรือระบบบัญชีที่ไม่สามารถเปลี่ยนแปลงได้ ป้องกันการปลอมแปลง ตกแต่งรายการ หรือป้องกันการโกงได้นั้นเอง
  • Bitcoin เป็นตัวอย่างการนำ Blockchain ไปใช้งานเพื่อเป็นการกระจายอำนาจให้เท่าเที่ยมกันโดยไม่มีใครเป็นเจ้าของสูงสุดของข้อมูลได้ 

ความคิดเห็น

โพสต์ยอดนิยมจากบล็อกนี้

Interactive เทคโนโลยีเชิงโต้ตอบเปลี่ยนโลกเข้าสู่ยุค Metaverse

เทคโนโลยี Interactive คืออะไร คำนิยามของ เทคโนโลยี Interactive ที่สร้างและพัฒนาขึ้นสำหรับโปรแกรมหรือแอพลิเคชั่นที่เป็น Real-Time เรียกง่ายๆว่า Real-Time Programming (RTP) โดยเน้นไปยังผู้ใช้หรือมนุษย์นั้นเอง จะประกอบไปด้วย 2 องค์ประกอบ คือ ส่วนแรก เทคโนโลยี Interactive เข้าทำการเปลี่ยนแปลรูปร่าง ขนาด และรูปแบบ ซึ่งมาจาก web service อุปกรณ์ sensor ผ่านคอมพิวเตอร์ และมือถือ เป็นผสมผสานระหว่างระบบดิจิทัลและแอนนาล๊อกเข้าด้วยกัน ผ่านปุ่ม สไลด์เดอร์ หรือสวิทซ์ เพื่อการควบคุมในส่วนควบคุมทั้งหมด ที่เรียกว่า Control panel  ส่วนที่ 2  แอพลิเคชั่นที่ทำงานแบบ Real Time Application ถูกออกแบบในแนวคิดหลักของเทคโนโลยี Real Time  อ้างอิง https://interactiveimmersive.io/blog/beginner/02-interactive-technology/ เทคโนโลยีเชิงโต้ตอบที่เน้นการสร้างต้นแบบที่เร็วขึ้น มีประโยชน์อย่างมากในแอปพลิเคชันและประสบการณ์การสร้างต้นแบบ  ประเภทของเทคโนโลยี Interactive  มี 6 ประเภท 1. IoT เป็นแนวคิดจะเปลี่ยนบริการทุกบริการให้อยู่บนเครือข่ายอินเทอร์เน็ต และสามารถเชื่อมต่อเข้ากับแอพลิเคชั่นทุกแอ...

Routing Protocol คืออะไร มีประโยชน์อย่างไร ทำหน้าที่อะไร

 Routing Protocol คืออะไร มีประโยชน์อย่างไร ทำหน้าที่อะไร         ในกระบวนการเชื่อมต่อระบบเครือข่ายจะมีกระบวนการหรือกฏหนึ่งที่ทำหน้าที่ในการเชื่อมต่อระบบเครือข่ายตั้งแต่ 2 ระบบขึ้นไป เพื่อให้สามารถติดต่อสื่อสารข้อมูลระหว่างกันได้ กระบวนการนี้เรียกว่า Routing Protocol            Routing Protocol  คือ Protocol มีหน้าที่สำหรับการแลกเปลี่ยนข้อมูลเส้นทางสำหรับอุปกรณ์ค้นหาเส้นทาง หรือ Router ข้อมูลที่ส่งไปเป็น routing information ระหว่างอุปกรณ์เครือข่ายต่างๆที่ทำงานในระดับ Network Layer (Layer 3) เพื่อส่งข้อมูลแพ็กเก็จจาก ผ่านตัว Router ไปยัง IP ปลายทางได้ หรือผ่าน Router ตัวไหน โดยตรวจสอบจากได้จาก routing table หรือตารางเส้นทางนั้นเอง  ประเภทของ Routing Protocol   Interior gateway Protocol  มี 2 Type คือ   Type 1  Link State Routing Protocols Open Shortest Path Frist ( OSPF) Intermediate System to Intermediate System (IS-IS) Type 2 Distance-Vector Routing Protocols Routing Information Pro...